การจัดการความรู้

March 13, 2012

การเชื่อมโยงระหว่างการจัดการความรู้ (Knowledge Management) และทุนทางปัญญา (Intellectual Capital)

การเชื่อมโยงระหว่างการจัดการความรู้ (Knowledge Management) และทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ผศ.ดร.อรุณี อินทรไพโรจน์ รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค การจัดการความรู้(Knowledgemanagementหรือkm) นักวิจัยได้ให้ความสนใจในแนวคิดด้านการจัดการความรู้ (Knowledge Management หรือ KM) อย่างกว้างขวาง เมื่อประมาณ ปี 1998 (Nonaka & Takecuchi 1995; […]
March 13, 2012

ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital)

การเติบโตของอุตสาหกรรมฐานความรู้ได้แสดงให้เห็นว่าการสร้างคุณค่าของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ อินเทอร์เน็ต การเงินวิทยาศาสตร์ และบริษัทที่ปรึกษาจะขึ้นอยู่กับทรัพย์สินทางกายภ าพน้อ ย กว่า ทรัพ ย์สินที่จับต้องไม่ได้ (Intangible assets) ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าว เรียกว่า ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) โดยทุนดังกล่าวจะแสดงบทบาทเช่นเดียวกับโรงงาน หรือเครื่องมือ เครื่องจักรของโรงงาน ทุนทางปัญญาเกิดตามการเปลี่ยนแปลงจากระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเป็นเศรษฐกิจฐานความรู้ (Guthrie et al. 1999) เมื่อโลกเข้าสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ทำให้ความสำคัญของสินทรัพย์ที่มีตัวตนลดลงและมีการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่จะพึ่งพาความรู้และทุนทางปัญญา ทุนทางปัญญาที่อยู่ในองค์กรจะถูกกำหนดจากความแตกต่างของมูลค่าทางตลาด […]
March 13, 2012

Measurement of Intellectual Capital of ICT Service Offices

Arunee Intrapairot, Ph.D. Anongnart  Srivihok, Ph.D. In the knowledge based economy, organizations are making every effort to accumulate their intellectual capital (IC) because their future prosperity […]
March 13, 2012

Measurement of Intellectual Capital for Thai SME

Dr. Anongnart Srivihok (Kasetsart University) Dr. Arunee Intrapairo   In the knowledge based economy, organizations are making every effort to accumulate their intellectual capital (IC) because […]
March 13, 2012

การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management หรือ CRM) และการจัดการความรู้ของลูกค้า (Customer Knowledge Management หรือ CKM)

รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค ปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลกระทบต่อลูกค้าซึ่งทำให้ธุรกิจต้องกำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสม สภาพแวดล้อมทางการตลาดที่เปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน ได้แก่ – การลดขนาด การลดต้นทุนเพื่อให้ธุรกิจเติบโต – ธุรกิจประสบกับความยากลำบากในการรักษาผลประโยชน์ที่ได้รับจากการขายสินค้าให้ยั่งยืน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และวงจรชีวิตของสินค้าที่มีอายุสั้นลง – ลูกค้าเป็นแรงขับเคลื่อนของการเติบโตทางธุรกิจดังนั้นธุรกิจจึงต้องมีการเพิ่มจำนวนลูกค้าและขยายความสัมพันธ์กับลูกค้าที่มีอยู่ – ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ขายและลูกค้ามีความซับซ้อนมากขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สามารถเข้าถึงและเชื่อมต่อกับลูกค้า ช่วยเพิ่มการคาดหวังของลูกค้า และโอกาสในการสร้างคุณค่ามีการขยายตัวและแตกตัวมากขึ้น อย่างไรก็ตามธุรกิจส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจในตัวลูกค้าโดยจะเห็นได้จากการที่ธุรกิจจ่ายเงินจำนวนมากเพื่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานการให้บริการกับลูกค้าแต่ลูกค้าเพียงร้อยละ 48 เท่านั้นที่พอใจกับบริการที่ให้นอกจากนี้ยังพบว่าต้นทุนต่อการติดต่อทางการขายเพิ่มมากขึ้นแต่ผลิตภาพที่ได้จากการขายลดลง […]
March 9, 2012

คิดใหม่ เพื่ออนาคต ( Rethinking the Future )

โรวาน กิ๊บสัน  บรรณาธิการ ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย แปล-เรียบเรียง หนังสือ”คิดใหม่เพื่ออนาคต” หรือ “Rethinking The Future” เป็นหนังสือที่ได้รวบรวมความคิดของ กูรู ( GURU – ปรมาจารย์ ) ทางด้านการบริหาร การจัดการ ของโลกมารวมไว้ซึ่งจะชี้ให้เห็นถึง การคิดใหม่ ( Rethink ) ที่มาจากกรอบกระบวนทัศน์ใหม่ ( New […]