การจัดการความรู้

March 9, 2012

ก้าวข้ามผ่านให้พ้นระบบการงบประมาณแบบเดิม

ก้าวข้ามผ่านให้พ้นระบบการงบประมาณแบบเดิม Beyond Budgeting ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการก.พ.ร. การบริหารจัดการสมัยใหม่ เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การนั้น ไม่ใช่เป็นเรื่องของทุนทางการเงิน (financial capital) และการจัดการการเงิน (financial management) เท่านั้น แต่จะต้องครอบคลุมถึงเรื่องของทุนทางปัญญา (intellectual capital) อันได้แก่ผู้บริหารที่มี ขีดความสามารถ (competent manager) ผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้และทักษะ (skilled knowledge worker) […]
March 9, 2012

การจัดการความรู้คืออะไร

การจัดการความรู้คืออะไร การจัดการความรู้เป็นกระบวนการ (Process) ที่ดำเนินการร่วมกันโดยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือหน่วยงานย่อยขององค์กร เพื่อสร้างและใช้ความรู้ในการทำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ดีขึ้นกว่าเดิม การจัดการความรู้ในความหมายนี้จึงเป็นกิจกรรมของผู้ปฏิบัติงาน ไม่ใช่กิจกรรมของนักวิชาการหรือนักทฤษฎี แต่นักวิชาการหรือนักทฤษฎีอาจเป็นประโยชน์ในฐานะแหล่งความรู้ (Resource Person) การจัดการความรู้เป็นกระบวนการที่เป็นวงจรต่อเนื่อง เกิดการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ เป้าหมาย คือ การพัฒนางานและพัฒนาคน โดยมีความรู้เป็นเครื่องมือ มีกระบวนการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ “การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ ไม่ใช่เป้าหมาย” หลักการ 4 ประการของการจัดการความรู้ หลักการสำคัญ 4 ประการ […]
March 9, 2012

การจัดการความรู้กับการบริหารราชการแนวใหม่

ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม ในโลกยุค “สังคมแห่งความรู้, ยุคโลกาภิวัตน์, และยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง” หน่วยบริการสาธารณะ หรือที่เรียกว่าหน่วยราชการจะต้องปรับตัว เปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่ และเปลี่ยนวิธีทำงานใหม่มิฉะนั้นสังคมไทยก็จะไม่สามารถแข่งขันได้ในสังคมโลก ความแตกต่างระหว่างราชการแบบเก่า กับราชการแนวใหม่ ราชการแบบเก่าเน้นการทำผลงาน เช่น หน่วยงานด้านการเกษตรอาจรายงานว่า ในปีที่ผ่านมา ได้ให้คำแนะนำด้านพันธุ์ข้าว ปุ๋ย และยาฆ่าแมลงแก่เกษตรกร 1,000 ราย แต่ราชการแนวใหม่ต้องเน้นที่ผลสัมฤทธิ์หรือผลกระทบ มองที่ตัวเกษตรกรว่ามีรายได้และชีวิตที่ดีหรือไม่ ไม่ใช่แค่มองที่งานของตัวนักวิชาการเกษตร […]
March 8, 2012

First things First

การบริหารเวลาในอดีตประกอบด้วย 3 ยุค คือ การบริหารเวลาในยุคที่ 1 เป็นการบริหารเวลาจากแนวความคิดเกี่ยวกับ การเตือนความจำ โดยมีเครื่องมือในการบริหารเวลา คือ การจดโน้ตและการบันทึกรายการสิ่งที่ต้องทำ ในแต่ละวัน • ข้อดี การบริหารเวลามีความยืดหยุ่น ไม่มีการกำหนดตารางนัดหมายจนล้นหรือเป็นระเบียบเเบบแผนมากเกินไป และเป็นการบริหารเวลาที่สามารถตอบสนองต่อผู้อื่นมากกว่า เนื่องจากการบันทึกรายการสิ่งที่ต้องทำ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามสถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อม • ข้อเสีย การบริหารเวลาไม่สามารถรักษาข้อตกลงที่ทำ ไว้ได้เนื่องจากรายการสิ่งที่ต้องทำ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ และมีแนวคิดว่า สิ่งที่สำคัญ […]
March 8, 2012

บทสรุปย่อ “As The Future Catches You”

หนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนต้องการชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการของเทคโนโลยี 3 ศาสตร์ที่กำลังครอบงำ โลกนี้อยู่ และผู้คนโดยส่วนใหญ่ยังไม่รู้ตัว เทคโนโลยีทั้ง 3 ประกอบด้วย • Digital Technology • Genomics (รหัสพันธุกรรมของมนุษย์) • Nano Technology (เทคนิคการผลิตชิ้นส่วนขนาดเล็กมาก 1/1,000 ล้านเมตร) ก่อนที่ผู้เขียนจะลงรายละเอียดในเทคโนโลยีทั้งสาม ผู้เขียนได้กล่าวแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลก เช่น • เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก […]
February 10, 2012

การเขียน MIND MAP

การเขียนmindmap            ดูเพิ่มเติมที่นี่