เรื่อง การบริหารโครงการฝึกอบรมอย่างมืออาชีพ
วันที่อบรม วันพฤหัสบดีที่ 19 พฤษภาคม 2554 (เวลา 13.30 – 16.30 น.)
วิทยากร อ.สมศักดิ์ วิวัฒน์ไพศาล ผู้อำนวยการฝ่ายวางแผน ธนาคารแห่งประเทศไทย
สรุปเนื้อหาการบรรยาย
การบริหารโครงการฝึกอบรมอย่างมืออาชีพ
1. ความจำเป็นหรือความต้องการ (Training Needs Assessment)
ข้อพิจารณาที่ 1
ข้อพิจารณาที่ 2
ประเภทของความจำเป็นในการฝึกอบรม
บุคคล : บุคคลใดต้องรู้และทำอะไร
งาน : ไม่เจาะจงบุคคล ไม่ว่าใครทำางานนั้น ต้องรู้เรื่องนั้น ๆ
องค์การ : เป็นระดับนโยบายที่ทุกคนต้องเกี่ยวข้อง
2. ออกแบบอย่างไรให้ตรงเป้าหมาย (Course Design)
เรื่องหลักที่ควรเรียนรู้
พฤติกรรมการเรียนรู้ (Bloom และคณะ)
1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ สติปัญญา ความรู้ ความคิด
วิธีการ คือ บรรยาย / ตั้งคำถาม / แบบฝึกหัด
2. จิตพิสัย (Affective Domain) คือ จิตใจ ค่านิยม ทัศนคติ ความเชื่อ
วิธีการ คือ กิจกรรม / สื่อ / การเปิดใจ / กรณีศึกษา
3. ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ความสามารถในการปฏิบัติงาน
วิธีการ คือ การสาธิต / ฝึกปฏิบัติสถานการณ์ จำลอง / Feedback
3. พลิกกลยุทธ์จุดประกายการเรียนรู้ (Training Techniques)
แนวคิดใหม่ในการดำเนินการฝึกอบรม
The 4 Phases of Learning
ประเมินแม่นยำติดตามให้ได้ผล (Evaluation & Follow up)
Input
Process
Output
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรมตามระดับประเมิน
ระดับการประเมิน
การวัดทัศนคติ / ปฏิกิริยา วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดระดับของความพึงพอใจปฏิกิริยาเชิงบวก
การวัดการเรียนรู้ วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดความรู้และทักษะที่เฉพาะเจาะจง
การวัดพฤติกรรม วัตถุประสงค์เพื่อกำหนดพฤติกรรมที่ต้องเปลี่ยนแปลง
การวัดผลลัพธ์ กำหนดตัวชี้วัดผลทางธุรกิจ
การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม ของ Dr. Donald Kirkpatrick แบ่งออกเป็น 4 ระดับ
ระดับที่ 1 การวัดทัศนคติ/ ปฏิกิริยา (Reaction)
ระดับที่ 2 การวัดการเรียนรู้ (Learning)
ระดับที่ 3 การวัดพฤติกรรม (Behavior)
ระดับที่ 4 การวัดผลลัพธ์ (Results)
การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม (Phillips ROI : เพิ่มเป็น 5 ระดับ (เพิ่มจาก Kirkpatrick)
ระดับที่ 1 การวัดทัศนคติ / ปฏิกิริยา (Reaction)
ระดับที่ 2 การวัดการเรียนรู้ (Learning)
ระดับที่ 3 การวัดพฤติกรรม (Behavior)
ระดับที่ 4 การวัดผลลัพธ์ (Results)
ระดับที่ 5 การวัดผลตอบแทนการลงทุน (Return on Investment)
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม
– ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารโครงการฝึกอบรม