การเชื่อมโยงระหว่างการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
และทุนทางปัญญา (Intellectual Capital)
ผศ.ดร.อรุณี อินทรไพโรจน์
รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค
การจัดการความรู้(Knowledgemanagementหรือkm)
นักวิจัยได้ให้ความสนใจในแนวคิดด้านการจัดการความรู้ (Knowledge Management หรือ KM) อย่างกว้างขวาง เมื่อประมาณ ปี 1998 (Nonaka & Takecuchi 1995; Sveiby, 1997) โดยคำจำกัดความของ KM จะแตกต่างกันตามขอบเขตและจุดเน้น
KM หมายถึง ความสามารถของกระบวนการภายในองค์กรที่จะคงไว้เพื่อปรับปรุงผลลัพธ์ ขององค์กรตามประสบการณ์และความรู้ (Pan & Scarbrough 1999, p.362)
KM อาจหมายถึงกระบวนการจัดการของ องค์กรในการสร้างเก็บรักษา และนำความรู้ ขององค์กรกลับมาใช้ (Huang et al. 1999) ขณะเดียวกันก็พัฒนาวัฒนธรรมการสร้างความรู้โดยจุดหมายปลายทางที่จะสร้างและทำให้ทุนทางปัญญา (IC) สูงสุดเพื่อสร้างความเฉลียวฉลาดขององค์กรให้เพิ่มมากขึ้น
จุดประสงค์ของ KM
คือการเพิ่มประสิทธิผลที่ เกี่ยวข้องกับความรู้ขององค์กร โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น สี่ประเด็นหลักได้แก่
Download: การเชื่อมโยงระหว่างการจัดการความรู้ (Knowledge Management) และทุนทางปัญญา (Intellectual Capital)