โครงการอบรมทางไกลผ่านระบบดาวเทียม หัวข้อ การประชาสัมพันธ์เชิงรุก
ผู้บรรยาย ได้แก่ อ. ดนัย จันทร์เจ้าฉาย ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ดีซี คอนซัลแทนส์ แอนด์ คอมมูนิเคชั่น จำกัด
ปัจจุบันการประชาสัมพันธ์นับเป็นการสื่อสารประเภทหนึ่งที่มีความสำคัญและมีบทบาทอย่างยิ่งต่อการสร้างภาพลักษณ์ และ สร้างความรู้ความเข้าใจให้เกิดขึ้นระหว่างกลุ่มประชาชนกับองค์การสถาบัน หรือสินค้าและบริการ ทั้งนี้จึงได้เกิดกลวิธีและกลยุทธ์ต่างๆ ทางการประชาสัมพันธ์ขึ้นอย่างมากมาย
การนำกลยุทธ์ 8 ประการมาใช้ในการประชาสัมพันธ์การตลาดยุคใหม่
กลยุทธ์ 1 ลืมอดีตให้หมด
การลืมอดีตให้หมด ประกอบด้วย • จำเป็นต้องมีประสบการณ์หรือไม่ • ใส่เข้าไปไม่ต้องยั้ง • ฟังอย่างคนไม่รู้เดียงสา • ยักษ์กับเด็ก
กลยุทธ์ 2 สร้างแสงสว่างให้ตัวเอง
การสร้างแสงสว่างให้ตัวเอง ประกอบด้วย • ไม่ได้สื่อสาร แต่ชี้นำ • การกำหนดคุณลักษณะของยี่ห้อที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว • เอกลักษณ์ที่สะท้อนถึงยี่ห้อ • ผู้บริโภคอยู่ตรงไหน • พลังขับเคลื่อนองค์กร • ความรู้สึกและความแนบแน่น • ความสะดุดตาสะดุดใจ • แหล่งที่มาของเอกลักษณ์ • พลิกฟื้นอดีตกลับมา • ต้องนึกถึงผู้บริโภคไว้ด้วย • นำจุดอ่อนของคู่แข่งมาสร้างเอกลักษณ์ • “ความคิด” เป็นตัวสร้างเอกลักษณ์ • รากฐานของเอกลักษณ์ : ความทุ่มเท และความเชื่อในตัวเอง • ความหมายที่มีต่อองค์กรผู้ท้าชิง
กลยุทธ์ที่ 3 : ทำตัวเป็นผู้นำทางความคิด
การทำตัวเป็นผู้นำทางความคิด ประกอบด้วย • พฤติกรรมที่ฝ่าฝืนธรรมชาติ • ธรรมเนียมในการแสดงตน • ธรรมเนียมในการเลือกใช้สื่อ • ธรรมเนียมที่ได้มาจากประสบการณ์ • ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน• การเป็นผู้นำทางความคิด ไม่ใช่การล้มล้างของที่มีอยู่เดิมทั้งหมด • การเป็นผู้นำทางความคิดกับพฤติกรรม
กลยุทธ์ที่ 4 : สร้างสัญลักษณ์เพื่อเพิ่มคุณค่า
สร้างสัญลักษณ์เพื่อเพิ่มคุณค่า ประกอบด้วย • เจาะเข้าไปในความพึงพอใจหลัก • ความพึงพอใจหลักของผู้บริโภค: ผู้บริโภคมองเรา อย่างไร • ความพึงพอใจหลักของผู้บริโภค: ผู้บริโภคมองเห็นสินค้าอย่างไร • ความพึงพอใจหลักของผู้บริโภค: ผู้นำที่มั่นคง • กลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกัน
กลยุทธ์ที่ 5 : การเสียสละ
การเสียสละ ประกอบด้วย • การเสียสละในเป้าหมาย: แลกกับความจงรักภักดี • การเสียสละความถี่ในการเข้าถึง: แลกกับ เอกลักษณ์ที่ได้รับ • การเสียสละช่องทางจำหน่าย: แลกกับความ แพร่หลาย • การเสียสละข้อมูล: แลกความลึกของข้อมูล • ทำในสิ่งที่ตัวเองถนัดที่สุด • การเสียสละที่จะโฆษณาถึงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ • เป้าหมายของการเสียสละ
กลยุทธ์ที่ 6 : ทำให้มากกว่าปกติ
การทำให้มากกว่าปกติ ประกอบด้วย • มุ่งให้ทะลุไปใต้ก้อนอิฐ • มุ่งให้ทะลุไปใต้ก้อนอิฐ: ให้คำนิยามถึงเป้าหมาย • มุ่งให้ทะลุไปใต้ก้อนอิฐ: จัดการกับแรงต่อต้านนอกองค์กร • การเสียสละและการทำอะไรมากกว่าปกติ
กลยุทธ์ที่ 7 : ใช้โฆษณาและประชาสัมพันธ์
เป็นเครื่องทุ่นแรง • การยอมรับใน “ความคิด” • วิธีการกำหนดกลยุทธ์แบบใหม่ • โฆษณาประชาสัมพันธ์: คลื่นลูกหลังและความเสี่ยง • การประชาสัมพันธ์และความเชื่อของคน
กลยุทธ์ที่ 8 : พุ่งเป้าไปที่ความคิด
อย่าเพิ่งมองไปที่ผู้บริโภค • โมเมนตัม • การรักษาโมเมนตัม ตอนที่ 1: ต้องมีความคิดใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง • การรักษาโมเมนตัม ตอนที่ 2: เสาะหาเอกลักษณ์ของยี่ห้อให้ได้ • การรักษาโมเมนตัม ตอนที่ 3: สร้างความพอใจร่วม หรือความเป็นเจ้าของร่วมขึ้นมา • การเจริญเติบโตและเอกลักษณ์ • สร้างวัฒนธรรมให้เข้ากับงาน • วัฒนธรรมมาก่อนพฤติกรรม • เติมไฟอย่าให้มอด • 3 บรรยากาศแห่งความคิด บรรยากาศแห่งการยอมรับ บรรยากาศแห่งการเติบโต บรรยากาศแห่งการตัดสินใจ • บทบาทของผู้บริโภค • มองไปข้างหน้าหรือไม่ก็จบกัน • ผู้นำองค์กรที่ไม่มั่นคง • ความเปลี่ยนแปลง กับ การท้าชิง • ก้าวไปสู่บริษัทที่ใช้ความคิดเป็นพลังขับเคลื่อน ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ สู่ความสำเร็จทั้ง 8 ประการ • ผู้ท้าชิงควรมีความทะเยอทะยานอย่างไร • สร้างความสะดุดตา • โมเมนตัมที่รู้สึกได้ • ทำตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ทันสมัย • ความเด่นชัดของเอกลักษณ์ • ความน่าตื่นเต้นและพลัง • ผลกระทบต่อตลาดที่ยังเหลืออยู่
กลยุทธ์ที่กล่าวมานี้สามารถนำไปเป็นแนวทางและความรู้ไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงาน องค์การ สินค้า หรือบริการได้อย่างเหมาะสม หากต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมสามารถดาวน์โหลดดูได้ที่ http://www.youtube.com/watch?v=UJWoz7BMX-U