โครงการอบรมทางไกลผ่านระบบดาวเทียม
เรื่อง การออกแบบ KPIs อย่างไรให้ได้ผล
วันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม 2552 (เวลา 09.00 – 12.00 น.)
สถานที่ ห้องมินิเธียเตอร์ชั้น 1 และห้องประชุมชั้น 4 อาคารวิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
จำนวนผู้เข้ารับการอบรม 68 คน
สรุปเนื้อหาการบรรยาย
วัตถุประสงค์ในการออกแบบ KPI ให้ได้ผล จะต้องเข้าใจแนวคิดหลักการ และภาพรวมกระบวนการบริหารผลงาน สามารถจัดทำตัวชี้วัดผลงาน ผละถ่ายทอดจากองค์กร สู่หน่วยงาน และบุคลากร สามารถวางแผนผลงาน และถ่ายทอดจากองค์กร สู่หน่วยงาน และบุคลากร สามารถวางแผนผลงาน ทราบแนวทางการจัดการ และประเมินผลงาน
ความหมายของการบริหารผลงาน กระบวนการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ ให้องค์การและบุคลากรบรรลุเป้าหมาย โดยปรับปรุงผลงานองค์การและบุคลากร และพัฒนาความสามารถ ทุกระดับ
หลักการบริหาร การมีส่วนร่วมทั่วทั้งองค์การ ปรับปรุงต่อเนื่องสม่ำเสมอ ถือเป็นความสำเร็จร่วมกัน ภาพรวมกระบวนการบริหารผลงาน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม และแผนยุทธศาสตร์องค์การ – เป้าหมายยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดผลงานองค์การ – ถ่ายทอดเป้าหมายยุทธศาสตร์สู่หน่วยงานและบุคคล
กระบวนการบริหารงาน
1. กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมและแผนยุทธศาสตร์ขององค์การ
2. กำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดผลงาน
3.ถ่ายทอดเป้าหมายยุทธศาสตร์สู่หน่วยงานและบุคลากร
4. เชื่อมโยงเป้าหมายและตัวชี้วัดผลงานทุกระดับให้สอดคล้องกับองค์การ
5. สร้างระบบการสื่อสารและรายงานผลการปฏิบัติงาน
6.บริหารผลงานขององค์การตามแผน
7.ประเมินผลการปฏิบัติงานระดับพนักงาน หน่วยงาน และองค์การ
8. ทบทวนหารือผลงาน และนำผลไปใช้ตอบแทนพนักงาน
ตัวชี้วัดผลงาน
ลักษณะของตัวชี้วัด
ประเภทตัวชี้วัดผลงาน
ลักษณะตัวชี้วัดผลงานที่ดี
– ขัดแย้ง กำไรสุทธิ กับการเจริญเติบโตของรายรับ
– ซ้ำซ้อน เช่น กำไรสุทธิ กับการเติบโตของรายรับกับการส่วนแบ่งตลาด
– เป็นส่วนหนึ่ง เช่น รายรับจากการขาย กับรายได้รวม
ตัวชี้วัดผลงานหลัก (Key Performance Indicators : KPI) คือ ดัชนีหรือหน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่ได้รับการคัดเลือกว่ามีความสำคัญ หรือมีผลกระทบต่อความสำเร็จสูง ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
เป้าหมาย (Targets)
ลักษณะของเป้าหมายที่ดี
– เจาะจง (Specific)
– วัดผลได้ (Measurable)
– บรรลุผลได้ (Achievable)
– เป็นจริงสมเหตุสมผล (Realistic)
– มีกำหนดเวลา (Time-framed)
ตัวอย่างการเขียนเป้าหมายยุทธศาสตร์
– เป้าประสงค์ : เพิ่มรายได้
– ตัวชี้วัด : รายได้ที่เพิ่มขึ้นเทียบปีก่อน
– เป้าหมาย : ร้อยละ
ผลที่ได้รับ