LOGO-KM-BlogLOGO-KM-BlogLOGO-KM-BlogLOGO-KM-Blog
  • Home
  • เกี่ยวกับ
  • มทร.ธัญบุรี
  • คู่มือ/เอกสาร
  • ติดต่อเรา
  • เข้าสู่ระบบ
✕

ภาวะผู้นำสำหรับองค์กรยุคใหม่

  • Home
  • Blog
  • การพัฒนาองค์กร
  • ภาวะผู้นำสำหรับองค์กรยุคใหม่
การบริหารอารมณ์เพื่อความสำเร็จ
September 13, 2011
โครงการ Pool Work Force Training#7
September 16, 2011
Published by thanyaluk on September 13, 2011
Categories
  • การพัฒนาองค์กร
Tags
  • การปรับองค์กร
  • ผู้นำ
  • ภาวะผู้นำ
  • องค์กร

เรื่อง                ภาวะผู้นำสำหรับองค์กรยุคใหม่

วันที่อบรม        วันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม  2554 (เวลา 13.30 – 16.30 น.) 

วิทยากร           ดร.สมชาย  ภคภาสน์วิวัฒน์   นักวิชาการอิสระ

สรุปเนื้อหาการบรรยาย  

ผู้นำ คือ ผู้ที่มีหน้าที่ในการกำหนดทิศทางกลยุทธ์ นำพาองค์กรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง  ที่เกิดขึ้นอย่างมีคุณภาพ ผู้นำยุคใหม่จะต้องมีการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงได้อย่างดี

ลักษณะของผู้นำยุคใหม่ จะต้องมีการปรับเปลี่ยน ดังนี้

1.    การปรับกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift)

1.1      การปรับวิสัยทัศน์ (Vision Shift)

1.2      การปรับทิศทาง (Direction Shift)

1.3      การปรับกระบวนการจัดการ (Management Shift)

–      การปรับองค์กร (Organization Shift)

–      การปรับกลยุทธ์ (Strategy Shift)

2.    ผู้นำกับการเปลี่ยนแปลง (Leadership and Change)

3.    การเปลี่ยนแปลง และ ผลกระทบต่อการจัดการ (Change Management)

4.    คุณสมบัติของผู้นำยุคใหม่ : มีความคิดในเชิงสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

4.1     มีวิสัยทัศน์ (Visionary)

4.2     เป็นนักวางแผน (Planner)

4.3     มีความสามารถในการสื่อสาร (Communicative)

4.4     มีความสามารถในการจูงใจ (Persuasive)

4.5     มีพลวัต (Dynamic)

4.6     มีความคิดในเชิงบวก (Positive Thinking)

4.7     มีความคิดในเชิงกลยุทธ์ (Strategic Thinking)

5.    การปรับวัฒนธรรมองค์กรกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

การเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์

–      IT

–      Globalization

–      Liberalization

–      FTA

องค์ประกอบของการวางแผนชิงกลยุทธ์

  1. การวิเคราะห์ปัจจัย SWOT
  2. พันธกิจ (Mission Statement)
  3. วัตถุประสงค์ (Objectives)
  4. กลยุทธ์ (Strategies)
  5. แผนปฏิบัติการ (นโยบาย)  (Action Plan d : Policies)

 การปรับวิสัยทัศน์ (Vision Shift)

–     การปรับทิศทาง (Direction Shift)

–      การปรับกระบวนการจัดการ (Management Shift)

–      การปรับองค์กร (Organization Shift)

–      การปรับกลยุทธ์ (Strategy Shift)

–      การปรับวัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture Shift)

Identify ระบุ

  • การเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ (Strategic Change)

–      กฎหมาย และระเบียบข้อบังคับ  (Law + Regulation)

–      ด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic)

–      ด้านการเมือง (Political)

–      ด้านสังคม (Social)

–      ด้านเทคโนโลยี (Technology)

–      คู่แข่งขัน / ผู้ที่มาทดแทน  (Competitors / Substitutes)

–      พฤติกรรมผู้บริโภค (Customer behavior)

–      Risk factor each principle attenuates

–      ความเสี่ยงในการค้นหา (Search risk)

–      การวางแผน (Planning risk)

–      ความเสี่ยงด้านขนาด (Scale risk)

–      ความเสี่ยงของรูปแบบธุรกิจ Business model risk)

  • Risk factor each principle attenuates

–      ความเสี่ยงขององค์กร (Organizational risk)

–      ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ (Management risk)

  • การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม (Environmental  Change) / ทรัพยากรเชิงกลยุทธ์ (Strategic Resources)

สมรรถนะหลัก (Core Competencies) ประกอบด้วย

ทรัพยากรมนุษย์ (HR)  การผลิต (Production) การจัดจำหน่าย (Distribution) การบริการ (Service)ผลิตภัณฑ์ (Product)  เทคโนโลยีสารสนเทศ / เทคโนโลยี (IT / Technology) การจัดซื้อ (Procurement)การเงิน (Finance)

สมรรถนะหลัก – Core Competencies

–      เรามีความแตกต่างที่ไม่เหมือนคนอื่น (คู่แข่ง)

–      ความแตกต่างที่คนอื่นเลียนแบบได้ยาก

–      ความแตกต่างสร้างเป็นสินค้าได้หลายตัว

–      ความแตกต่างเวลาทำสินค้าตรงกับกับความต้องการของลูกค้า

หลักปฏิบัติ 6 ประการของ Blue Strategy

* หลักปฏิบัติ

1.    เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในองค์กร

2.    สร้างแนวทางปฏิบัติงานลงในแผนกลยุทธ์

* กฎเกณฑ์หลัก

3.    สร้างขอบเขตตลาดใหม่

4.    เน้นภาพใหญ่ ไม่ใช่จำนวน

5.    ไปให้ไกลเกินกว่าความต้องการที่มีอยู่เดิม

6.    วางกลยุทธ์เป็นขั้นตอนอย่างเหมาะสม

  • Risk factor each principle attenuates

–      ความเสี่ยงในการค้นหา (Search risk)

–      การวางแผน (Planning risk)

–      ความเสี่ยงด้านขนาด (Scale risk)

–      ความเสี่ยงของรูปแบบธุรกิจ (Business model risk)

  • Risk factor each principle attenuates

–      ความเสี่ยงขององค์กร (Organizational risk)

–      ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ (Management risk)

อุปสรรคของการเปลี่ยนแปลงในองค์กร

–      ปล่อยให้อยู่กันอย่างสบาย ๆ มากเกินไป

–      ล้มเหลวในการสร้างทีมที่แข็งแกร่งอย่างเพียงพอที่จะเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง

–      ประเมินพลังแห่งวิสัยทัศน์ต่ำเกินไป

–      ไม่ได้สื่อสารวิสัยทัศน์อย่างทั่วถึง

–      ปล่อยให้มีอุปสรรคขัดขวางวิสัยทัศน์ใหม่ ๆ

–      ล้มเหลวในการสร้างความสำเร็จระยะสั้น

–      ประกาศชัยชนะเร็วเกินไป

–      ละเลยที่จะปลูกฝังการเปลี่ยนแปลงให้มั่นคงในวัฒนธรรมองค์กร

ผลกระทบที่เกิดขึ้น

–      กลยุทธ์ใหม่ ๆ ไม่ได้รับการนำไปปฏิบัติอย่างดีพอ

–      การเข้าครอบงำกิจการไม่บรรลุผลตามที่คาดหวังไว้

–      การ Reengineering ใช้เวลานานเกินไปและใช้งบประมาณมากเกินไป

–      ไม่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายในการลดขนาดกิจการได้

–      โครงการที่มีคุณภาพไม่เกิดผลตามที่คาดหวัง

กระบวนการเปลี่ยนแปลง

1.    สร้างความตระหนักถึงความเร่งด่วน

–      สำรวจสภาพความเป็นจริงของตลาดและการแข่งขันในตลาด

–      ระบุประเด็น และถกเถียงถึงเรื่องที่เกี่ยวกับวิกฤต และโอกาสสำคัญต่าง ๆ

2.    สร้างแนวร่วมในการนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลง

–      ผนึกกำลังเข้าด้วยกันเป็นกลุ่มเพื่อให้มีพลังเพียงพอที่จะนำการเปลี่ยนแปลง

–      จัดกลุ่มทำงานร่วมกันเป็นทีม

3.    พัฒนาวิสัยทัศน์ และกลยุทธ์

–      สร้างวิสัยทัศน์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

–      พัฒนากลยุทธ์ที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์นั้น

4.    สื่อสารถึงวิสัยทัศน์แห่งการเปลี่ยนแปลง

–      ใช้ช่องทางต่าง ๆ ที่มีอยู่เพื่อสื่อสารถึงกลยุทธ์และวิสัยทัศน์ใหม่นี้อย่างต่อเนื่อง

–      นำแนวทางที่เป็นแบบอย่างมาใช้เพื่อให้พนักงานมีพฤติกรรมตามที่คาดหวัง Empowering Broad-Based Action

–      กำจัดอุปสรรคต่าง ๆ

–      ปรับเปลี่ยนระบบ และโครงสร้างที่บ่อนทำลายวิสัยทัศน์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

–      ให้กำลังใจ และกระตุ้นการทำงานที่มีความเสี่ยง ตลอดจนความคิด กิจกรรมและการดำเนินการต่าง ๆ ที่แตกต่างไปจากแบบแผนเดิม ๆ

5.    Empowering Broad-Based Action

–      กำจัดอุปสรรคต่าง ๆ

–      ปรับเปลี่ยนระบบ และโครงสร้างที่บ่อนทำลายวิสัยทัศน์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

–      ให้กำลังใจ และกระตุ้นการทำงานที่มีความเสี่ยง ตลอดจนความคิด กิจกรรมและการดำเนินการต่าง ๆ ที่แตกต่างไปจากแบบแผนเดิม ๆ

6.    สร้างความสำเร็จย่อย ๆ ที่เกิดขึ้นได้ในระยะเวลาอันสั้น

–      วางแผนให้เกิดการปรับเปลี่ยนที่มองเห็นได้ชัดเจน หรือเรียกว่าเป็นความสำเร็จย่อย ๆ ที่ใช้เวลาไม่นาน

–      ทำสิ่งที่วางแผนไว้เหล่านั้นให้ประสบผล

–      ให้การยอมรับอย่างเป็นรูปธรรม และให้รางวัลแก่บุคลากรที่ทำให้เกิดผลสำเร็จ

7.    รวบรวมสิ่งที่ได้รับและสร้างความเปลี่ยนแปลงให้มากขึ้น

–      ใช้ความเชื่อถือที่เพิ่มขึ้นเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบโครงสร้าง และนโยบายทั้งหมดที่ไม่สอดคล้องกันและไม่เหมาะสมกับวิสัยทัศน์

–      ว่าจ้าง, สนับสนุน, และพัฒนาบุคลากรที่สามารถนำวิสัยทัศน์เพื่อการเปลี่ยนแปลงไปปฏิบัติได้

–      สนับสนุนกระบวนการดำเนินงานสำหรับโครงการใหม่ แนวเรื่อง (Theme) ใหม่ ๆ และผู้นำ การเปลี่ยนแปลง

8.    ปลูกฝังแนวทางใหม่ ๆ ในวัฒนธรรม

–      สร้างผลงานที่ดีขึ้นโดยดูจากลูกค้าและพฤติกรรมการใช้ผลิตภัณฑ์ ภาวะผู้นำที่เพิ่มขึ้นและดีขึ้น และการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

–      มีการเชื่อมต่ออย่างชัดเจนระหว่างพฤติกรรมใหม่ ๆ และความสำเร็จต่าง ๆ ขององค์กร

–      พัฒนาเครื่องมือเพื่อให้มั่นใจว่า ช่วยให้เกิดการพัฒนาภาวะผู้นำและความสำเร็จ

อุปสรรคในการนำกระบวนการใหม่ไปปฏิบัติ

–     ไม่ได้รับการสนับสนุนจากบุคลากรอาวุโสอย่างเข้มแข็ง

–     ขาดทรัพยากร (เงินสด และกำลังคน)

–     ไม่มีผลลัพธ์ที่ชัดเจน

–     ไม่มีข้อมูลที่เพียงพอ

–     ทีม Benchmarking ขาดทิศทาง

–     ขาดความเข้าใจจากบุคลากรอื่น ๆ

–     ไม่มีการนำไปปฏิบัติอย่างเป็นผล

–     ทำ Benchmarking หลายกระบวนการเกินไป

วัฒนธรรมองค์กร

–      ทัศนคติ (Attitude)

–      ค่านิยม (Value)

–      ค่านิยมหลัก (Core Value)

–      พฤติกรรม (Behavior)

–      วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture)

ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม

  1.  สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการบริหารงาน
  2. สามารถปรับตัวให้เข้ากับผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชาได้อย่างถูกต้อง
Post Views: 891
Share
1
thanyaluk
thanyaluk

Related posts

August 10, 2020

คู่มือเทคนิคการให้บริการที่เป็นเลิศ


Read more
June 20, 2018

โครงการสัมมนาผู้ปฏิบัติงานด้านพัฒนานักศึกษา ระยะที่ 2


Read more
November 8, 2017

เทคนิคการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อผลสัมฤทธิ์ในการทำงาน


Read more

Leave a Reply

You must be logged in to post a comment.

บล็อค เพื่อการจัดการความรู้ ราชมงคลธัญบุรี : KM Blog@RMUTT (Rajamangala University of Technology Thanyaburi)

บล็อค เพื่อการจัดการความรู้ มทร.ธัญบุรี

ห้องสมุด สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 39 หมู่ที่ 1 ตำบลคลองหก อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12110

งานบริการทรัพยากรสารนิเทศอิเล็กทรอนิกส์

 Fanpage : eLibrary3.RMUTT

Line@ : @261pxuhc

elibrary@mail.rmutt.ac.th

02 549 3655

บริการด้านภาษา

Fanpage : Language Center

  Line@ : @261pxuhc

  • การสร้างความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ส่วนบุคคล บนระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-learning)July 25, 2024
  • แนะนำหนังสือ Knowledge management (KM)May 30, 2024
  • จิตวิทยาบุคลิกภาพและการปรับตัว | Personality Psychology and AdjustmentJune 27, 2023
  • การจัดเก็บและการใช้ข้อมูลอย่างปลอดภัยขององค์กรเพื่อรองรับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562” สำหรับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีJune 27, 2023
  • Online Library RMUTTSeptember 13, 2021

(Knowledge Management blog Competency CRM EBSCO EndNote ICT intellectual capital Internet Protocol version 6 (IPv6) IPv6 KM knowledge presentation SEO training wordpress กฎหมาย การคัดลอกผลงาน การจัดการความรู้ การตลาด การทำงาน การนำเสนอ การบริการ การบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการ การปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาองค์กร การสืบค้น การสื่อสาร ความสำเร็จ คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล ฐานข้อมูลออนไลน์ ฐานข้อมูลอ้างอิงงานวิจัย ทักษะการทำงาน. ประกันภัยรถยนต์ ประกันรถยนต์ ผู้นำ พระราชบัญญัติ ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ห้องสมุด องค์กร แนะนำหนังสือ

เข้าสู่ระบบ

Log in
สร้างและพัฒนาโดย.
ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่ข้อมูลเว็บไซต์

(cc) KM Blog@RMUTT (Rajamangala University of Technology Thanyaburi)